วัดพระธาตุดอยเขาควาย 
[Wat Phrathat Doi Khao Khwai]

Wat Phrathat Doi Khao Khwai แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ศาสนสถาน (วัด/โบสถ์/มัสยิด ฯลฯ)

แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม

ภาคเหนือ กลุ่มนักเรียนนักศึกษา/เยาวชน/วัยรุ่น/


เปิดGoogle map

ตามตำนานพื้นบ้าน เล่าว่า ประมาณ 1,000 กว่าปีล่วงมา ได้มีพระยาธรรมมิกะราช เจ้าผู้ครองเมืองเชียงรายสมัยนั้น เป็นผู้ก่อสร้างวัดพระธาตุดอยเขาควาย ขึ้นมา โดยได้นำพระบรมสารีริกธาตุ อันเป็นข้อมือนิ้วก้อยข้างซ้ายของพระพุทธเจ้าที่คณะสงฆ์เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในดินแดนล้านนา ตามตำนานพื้นบ้าน เล่าว่า ประมาณ 1,000 กว่าปีล่วงมา ได้มีพระยาธรรมมิกะราช เจ้าผู้ครองเมืองเชียงรายสมัยนั้น เป็นผู้ก่อสร้างวัดพระธาตุดอยเขาควาย ขึ้นมา โดยได้นำพระบรมสารีริกธาตุ อันเป็นข้อมือนิ้วก้อยข้างซ้ายของพระพุทธเจ้าที่คณะสงฆ์เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในดินแดนล้านนา ได้นำมาถวายให้พระยาธรรมมิกะราช จึงให้อันเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ใส่บรรจุไว้ในองค์เจดีย์ เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนทั่วไปได้กราบไว้บูชา ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์หลายครั้งในสมัยเชียงแสน และสมัยพ่อขุนเม็งรายมหาราช ปัจจุบันในทุกๆปีจะมีประเพณีสรงน้ำพระธาตุ ในวันเพ็ญเดือนแปดเป็ง ซึ่งตรงกับวันเพ็ญ วิสาขบูชาตามตำนานพื้นบ้าน เล่าว่า ประมาณ 1,000 กว่าปีล่วงมา ได้มีพระยาธรรมมิกะราช เจ้าผู้ครองเมืองเชียงรายสมัยนั้น เป็นผู้ก่อสร้างวัดพระธาตุดอยเขาควาย ขึ้นมา โดยได้นำพระบรมสารีริกธาตุ อันเป็นข้อมือนิ้วก้อยข้างซ้ายของพระพุทธเจ้าที่คณะสงฆ์เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในดินแดนล้านนา ได้นำมาถวายให้พระยาธรรมมิกะราช จึงให้อันเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ใส่บรรจุไว้ในองค์เจดีย์ เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนทั่วไปได้กราบไว้บูชา ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์หลายครั้งในสมัยเชียงแสน และสมัยพ่อขุนเม็งรายมหาราช ปัจจุบันในทุกๆปีจะมีประเพณีสรงน้ำพระธาตุ ในวันเพ็ญเดือนแปดเป็ง ซึ่งตรงกับวันเพ็ญ วิสาขบูชาตามตำนานพื้นบ้าน เล่าว่า ประมาณ 1,000 กว่าปีล่วงมา ได้มีพระยาธรรมมิกะราช เจ้าผู้ครองเมืองเชียงรายสมัยนั้น เป็นผู้ก่อสร้างวัดพระธาตุดอยเขาควาย ขึ้นมา โดยได้นำพระบรมสารีริกธาตุ อันเป็นข้อมือนิ้วก้อยข้างซ้ายของพระพุทธเจ้าที่คณะสงฆ์เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในดินแดนล้านนา ได้นำมาถวายให้พระยาธรรมมิกะราช จึงให้อันเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ใส่บรรจุไว้ในองค์เจดีย์ เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนทั่วไปได้กราบ ไว้บูชา ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์หลายครั้งในสมัยเชียงแสน และสมัยพ่อขุนเม็งรายมหาราช ปัจจุบันในทุกๆปีจะมีประเพณีสรงน้ำพระธาตุ ในวันเพ็ญเดือนแปดเป็ง ซึ่งตรงกับวันเพ็ญ วิสาขบูชา

 Visitor:14